วันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2554



ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ


รียนรู้วิถีแห่งธรรมชาติ      




บอนไซเป็นศาสตร์ที่ผสมผสานกันระหว่างศิลปะและธรรมชาติ  การออกแบบบอนไซคุณสมบัติหนึ่งที่ผู้ออกแบบต้องมีก็คือการเข้าใจในวิถีแห่งธรรมชาติ  รักการใช้ชีวิตสัมผัสใกล้ชิดกับธรรมชาติ  สนใจสังเกตจดจำรูปแบบของธรรมชาติและทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ   และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างกลมกลืน  มีความเข้าใจในธรรมชาติไม่ผืนธรรมชาติ  ด้วยต้นไม้เพียงต้นเดียวและหินอีกไม่กี่ก้อนเมื่ออยู่ในมือของนักออกแบบที่ดีแล้วสามารถบอกเล่าเรื่องราวของต้นไม้ต้นนั้น  สื่อให้ผู้ดูเกิดจินตนาไปถึงเทือกเขาลำเนาไพรหรือแม้แต่สภาพแวดล้อมอันแร้นแค้นที่ต้นไม้ต้นนั้นได้เจริญเติบโตขึ้นมา  เป็นไปไม่ได้เลยที่นักออกแบบจะสามารถออกแบบผลงานเช่นนั้นได้หากไม่มีความเข้าใจในธรรมชาติที่เขาต้องการสื่อให้ผู้ดูได้เห็น...อ่านต่อ


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่





ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ






 

วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554



ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ


ความสมดุล
สมดุลในแนวคิดของศิลปะก็คือความเท่ากันที่รับรู้ด้วยความรู้สึก   สมดุลในรูปแบบศิลปอาจจะไม่เหมือนสมดุลจริงหรือสมดุลทางฟิสิกเท่าใดนักแต่เหมือนกับเป็นสมดุลของภาพลวงตาซึ่งจะรู้สึกถึงสมดุลด้วยสายตา 




ความสมดุลย์ของภาพ

การจัดองค์ประกอบภาพด้วยการจัดความสมดุลย์ให้กับวัตถุ หรือ สิ่งต่างๆ ในภาพ โดยอาศัยการรับรู้ถึง "น้ำหนัก" และตำแหน่งของวัตถุต่างๆ ที่อยู่ภายในภาพนั้นๆ โดยอาศัยหลักการ คานดีด - คานงัด โดยมีตำแหน่งกึ่งกลางภาพเป็นจุดศูนย์กลางของตัวคานน้ำหนัก


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่





ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ



บอนไซระยะใกล้และระยะไกล


เป็นที่รู้กันว่าบอนไซสามารถบรรยายได้โดยรูปทรงและแบบ   รูปทรงบรรยายรูปร่างของลำต้น ตัวอย่างเช่น ทรง informal upright, ทรงตกกระถาง, ทรง broom   แต่ยังมีสิ่งที่มีความสำคัญอีกสิ่งหนึ่งก็คือจุดที่กำหนดระยะของผู้ดู   จุดที่เรามองอยู่ในตำแหน่งไหน? เรายืนมองต้นไม้อยู่ใกล้กับโคนต้นแล้วมองขึ้นไปบนต้น หรือว่าเรายืนอยู่ห่างออกไปแต่อยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับต้นไม้  หรือท้ายสุดตำแหน่งที่เรามองไปยังต้นไม้อยู่ไกลจากต้นไม้นั้นจนเราสามารถเห็นต้นไม้ได้โดยไม่ต้องแหงนหน้ามอง ?




ทำไมตำแหน่งที่มองถึงมีความสำคัญมากนัก?
ต้นไม้ที่เราเห็นในระยะใกล้ๆจะมีรูปลักษณ์ที่แตกต่างไปจากต้นไม้ที่เราเห็นจากระยะไกล ; ไม่ว่าจะเป็นความเรียวของลำต้น, กิ่ง, ความดกหนาของกลุ่มใบ, หรือแม้กระทั่งภาพลักษณ์ของไม้ตายก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง  ...อ่านต่อ

ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่





ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ














 
 


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ



สร้างบอนไซโดยใช้ศาสตร์ทางศิลปะ

ศิลปะบอนไซก็เหมือนกับรูปแบบศิลปะอย่างอื่นๆ  ผู้สร้างบอนไซที่ประสบความสำเร็จหลายๆท่านได้ใช้หลักการด้านศิลปะมาประยุกต์เพื่อให้ได้ผลงานออกมาสวยงาม  ครบองค์ประกอบ  ตั้งแต่ ราก ลำต้น กิ่ง  ใบ  รวมถึงส่วนประกอบอื่นๆ  เช่น กระถาง หิน หญ้า มอส ดิน ฯ ศิลปินบอนไซจะออกแบบบอนไซได้ดีหากเขาสามารถที่จะสื่อสารส่งผ่านเรื่องราว ความงาม, ความสงบ, ความเข้มแข็ง หรือแม้แต่ความยากลำบากต่อสู้ดิ้นรนกับธรรมชาติที่โหดร้าย   ความเป็นความตายของต้นไม้ต้นหนึ่ง  เป็นเรื่องราวที่จะสื่อไปสู่ผู้ดู  มีบ่อยครั้งที่ผลงานของเราที่เราชื่นชมภูมิใจกับมันมากแต่กลับไม่มีใครที่เห็นว่ามันเป็นผลงานที่ดี  นั่นเปรียบเสมือนการที่เราเขียนหนังสือที่ต้องการบอกเล่าเรื่องราวแต่เราขาดทักษะการเขียนที่สามารถสื่อไปถึงผู้อ่านได้  ทำให้เรื่องไม่ประติดประต่อเนื้อเรื่องไม่ดำเนินอย่างต่อเนื่อง  ทำให้ขาดความน่าสนใจ  อย่าลืมว่าความงามเป็นสากลไม่ใช่แค่ความคิดของคนๆเดียว  ผลงานที่งดงามจะถูกประเมินจากคนส่วนใหญ่  ศิลปะบอนไซเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้จินตนาการของผู้ออกแบบสามารถสื่อส่งผ่านไปยังผู้ชมได้  จึงเป็นเหตุผลว่าทำไม่เราต้องเรียนรู้เข้าใจศิลปะบอนไซอย่างถ่องแท้เพื่อสามารถสื่อสารจินตนาการของเราไปสู่ผู้ดูได้  (อ่านต่อ...)




ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่





ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ







กลุ่มโรงเรียนทางภาคเหนือ
รูปแบบของโรงเรียนทางเหนือเป็นรูปแบบที่ใช้ในพื้นที่ หยางโจว, ซูโจว, เซี่ยงไฮ้ และพื้นที่ทางเหนือลุ่มแม่น้ำแยงซี  ต้นไม้ที่ใช้ส่วนมากจะเป็นตระกูลสน  และการจัดรูปแบบของต้นไม้จะใช้ลวด หรืออาจจะผสมผสานกับการตัดเล็ม  ลักษณะที่เห็นเด่นชัดของรูปแบบทางเหนือก็คือกลุ่มใบจะจัดในแบบกลุ่มเป็นชั้นๆกลุ่มใบเหล่านี้อาจมีรูปร่างไม่เหมือนกัน   แต่องค์ประกอบหลักก็คือความแตกต่างของสภาพแวดล้อมของธรรมชาติและภูมิอากาศ  ทางใต้ของจีนจะมีทั้งอุณหภูมิและความชื้นสูงตลอดปี  ตลอดลุ่มน้ำแยงซีฤดูที่ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้สั้นมากฉะนั้นการที่จะจัดรูปร่างของเผินจิ่งโดยไม่ใช้ลวดแทบจะเป็นไปได้ยาก   ...อ่านต่อ






ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ



วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com




ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




ในประเทศจีนเผินจิ่งชั้นยอดจะถูกออกแบบและสร้างจากผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์นี้เท่านั้น  ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้ได้ศึกษาร่ำเรียนโดยได้รับการถ่ายทอดต่อๆกันมาจากบรรพชนตั้งแต่สมัยโบราณผ่านทางโรงเรียนเผินจิ่น   เผินจิ่งแต่ละชิ้นงานที่สร้างออกมาจะสะท้อนถึงความคิดจินตนาการของผู้สร้าง  แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญของผู้สร้างรวมถึงตัวตนของผู้นั้นด้วย   เผินจิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาจากบุคคลเหล่านี้จะดูอ่อนช้อยงดงามสะท้อนถึงบรรยากาศเช่นเดียวกับบรรยากาศที่เราได้เห็นในภาพเขียนทิวทัศน์ของจีน  ในประเทศจีนมีโรงเรียนเผินจิ่งหลายสิบแห่งทั่วประเทศ   โดยตั้งอยู่แต่ละภูมิภาคของประเทศจีนซึ่งปรากฏหลักฐานของโรงเรียนเหล่านี้มาตั้งแต่ยุคของราชวงศ์หมิงและชิง ในราวศตวรรษที่ 17 



โรงเรียนเผินจิ่งที่ยังคงอิทธิพลต่อรูปแบบเผินจิ่นปัจจุบัน
ถึงแม้ว่าจะมีโรงเรียนเผินจิ่งจำนวนมากในประเทศจีนมาแต่โบราณ  โดยแต่ละโรงเรียนก็มีรูปแบบเป็นของตนเอง  ...อ่านต่อ
ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ



วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




เผินจิ่นเทือกเขาและผืนน้ำ(Shanshui Penjing)
เผินจิ่นเทือกเขาและผืนน้ำ  จะแสดงถึงทิวทัศน์ของเทือกเขา, ยอดเขา, หุบเขา ฯ เป็นหลัก  มีหินเป็นองค์ประกอบหลักและมีต้นไม้เป็นส่วนประกอบรอง      ต้นไม้อาจมีหรืไม่มีก็ได้ถ้ามีก็เป็นเพียงองค์ประกอบย่อยของภาพรวมทั้งหมด  ลงานแต่ละชิ้นสะท้อนถึงความรู้สึกนึกคิด, มุมมองและทัศนคติของนักออกแบบผู้นั้น   ซึ่งสามารถสื่อจากนักสร้างเผินจิ่นไปยังผู้ชมได้  เผินจิ่นเทือกเขาและผืนน้ำที่ดีนั้นอาจจะประกอบด้วยหินเพียงไม่กี่ชิ้นแต่สามารถสร้างความประทับใจแก่ผู้ชม  สามารถที่จะดึงผู้ชมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งและสร้างจินตนาการที่ไม่รู้จบให้แก่ผู้ชม




หลักการออกแบบ
ภายในรูปภาพเราจะค้นพบบทกลอน   ภายในบทกลอนเราจะค้นพบความหมาย ภายในความเงียบเราจะค้นพบความพลิ้วไหว ภายในความพริ้วไหวเราจะค้นพบจังหวะลีลา
การออกแบบเผินจิ่นเป็นการเลียนแบบธรรมชาติ  ผู้ออกแบบต้องเข้าใจคุ้นเคยกับธรรมชาติจึงจะสามารถออกแบบให้ผลงานที่ออกมาสามารถสื่อให้ผู้ชมเกิดจินตนาการไปถึงเทือกเขาลำเนาไพรได้ถึงแม้จะเป็นผลงานชิ้นเล็กๆก็ตาม...อ่านต่อ


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ


วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




เผินจิ่น ตอนที่ 1
เผินจิ่นเป็นศาสตร์การจำลองทิวทัศน์ในธรรมชาติมาลงในภาชนะเล็กๆ  เป็นศาสตร์ที่มีกำเนิดในประเทศจีนมานานนับพันปี  ศิลปินนักสร้างต้องสามารถจับเอาแก่นแท้และวิญญาณของธรรมชาติมาสู่ชิ้นงาน   เพื่อสร้างเผินจิ่นศิลปินนักสร้างจะใช้องค์ประกอบต่างๆ ต้นไม้, หิน, มอส, หญ้าและน้ำ โดยแต่ละองค์ประกอบต้องเข้ากันได้และสามารถสื่อผลงานออกมาให้กับผู้ดูได้เป็นอย่างดี   ฉะนั้นองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบต้องเลือกอย่างพิถีพิถันเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่ออกมาจะได้ตามที่ออกแบบไว้  ความสอดคล้องสามารถได้มาจากความแตกต่างกัน เช่น การใช้หินก้อนใหญ่กับหินก้อนเล็ก หรือการใช้สีที่สดใสกับสีที่ทึบ  องค์ประกอบทั้งหมดนี้จะสอดคล้องออกมาเป็นผลงานที่เป็นหนึ่งเดียว




ทั้งต้นไม้และหินจะต้องออกแบบให้มีสมดุลของการเคลื่อนไหว  เช่นเมื่อเราใช้ต้นไม้ที่ทอดไปด้านซ้ายและงอขึ้น  หินที่เราใช้ก็ต้องมีลักษณะการเคลื่อนไหวคล้ายคลึงกัน ...อ่านต่อ





ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ


วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




เผินจิ่นผืนน้ำและแผ่นดิน (Shuihan Penjing)


ในปี คศ. 1970  Mr. Qingquan Zhao เป็นผู้คิดค้นแยกประเภทของเผินจิ่นผืนน้ำและแผ่นดินออกมาจากเดิมที่มีอยู่ 2 ประเภทเพิ่มขึ้นมาเป็น 3 ประเภท ซึ่งเดิมเผินจิ่นผืนน้ำและแผ่นดินจะรวมอยู่ในเผินจิ่นภูมิทัศน์  เผินจิ่นผืนน้ำและแผ่นดินจะใช้ต้นไม้, หินและน้ำเป็นองค์ประกอบหลักเพื่อสื่อถึงทัศนียภาพในธรรมชาติโดยแสดงถึงต้นไม้ที่เจริญงอกงามอยู่บนแผ่นดินหรือริมแม่น้ำ  และน้ำจะถูกแทนด้วยช่องว่างในถาดหินอ่อนสีขาวบางๆ  เพื่อเน้นความลึกของผืนน้ำเราจะสร้างแนวของแม่น้ำหรือเกาะแก่งเล็กๆด้วยหินที่ตัดขนาดพอเหมาะและวางติดยึดไว้ที่ก้นถาด  มันไม่ใช่แค่ดูงดงามเท่านั้นแต่มันสามารถบอกเรื่องราวได้ด้วย  เช่นเดียวกับเผินจิ่นภูเขาต้นไม้อาจจะเป็นองค์ประกอบหนึ่งหรืออาจจะไม่มีอยู่เลยก็ได้  ถ้ามีอยู่ก็เป็นเพียงองค์ประกอบๆย่อยองค์ประกอบหนึ่งเท่านั้นจากภาพรวมทั้งหมด...อ่านต่อ    



ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่

www.bonsaisiam.com



ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




คำนิยามของจิตวิญญาณ
คำว่า จิตวิญญาณ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า "Spirituality"    จิตวิญญาณเป็นคำที่เกิดขึ้นใหม่ที่ท่านพุทธทาสเป็นผู้นำมาใช้เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2512  สำหรับคำนิยามความหมายของ จิตวิญญาณ นี้มีปราชญ์หลายคนให้คำนิยามไว้ต่างๆมากมายคำนี้ค่อนข้างมีความหมายกว้างและซับซ้อน   แต่ตามความหมายของจิตวิญญาณของปัจเจกชนพออนุมานได้ว่า เป็นการรู้แจ้งถึงสิ่งสูงสุดนั้นๆ  จิตวิญญาณของแพทย์, จิตวิญญาณของนักรบ ฯ  ซึ่งในแง่ของศาสตร์ของเผินจิ่นและบอนไซก็คือการรู้แจ้งในศาสตร์นี้  


ทำอย่างไรให้เป็นนักสร้างเผินจิ่นและบอนไซ?
คุณสมบัติและความรู้ที่นักสร้างเผินจิ่นและบอนไซจำเป็นต้องมีๆอยู่ 3 ข้อคือ:
1)       มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปลูก, การดูแลรักษาต้นไม้  และรู้ถึงเทคนิคอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การพันลวดดัดกิ่ง, การตัดทดลำต้นและกิ่งก้าน, การเสริมราก, การเสียบยอด ฯ    
      2)     มีคุณสมบัติเป็นผู้ที่รักการใช้ชีวิตสัมผัสใกล้ชิดกับธรรมชาติ  สนใจสังเกตจดจำรูปแบบของธรรมชาติและทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ   และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างกลมกลืน  มีความเข้าใจในธรรมชาติไม่ผืนธรรมชาติ  เราจะเห็นว่าผลงานของนักสร้างเผินจิ่นชาวจีนและบอนไซชาวญี่ปุ่นหรือนักสร้างชาติอื่นๆที่มีชื่อเสียงต่างก็มีเอกลักษณ์ของต้นเองซึ่งแสดงออกมาทางผลงาน...อ่านต่อ

 

ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่





ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ



  

วันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่


ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ




ประวัติพัฒนาการของบอนไซ


กำเนิดบอนไซ
ศิลปะการจัดสวนเพื่อตกแต่งพระราชวังในประเทศจีนได้มีมาตั้งแต่เมื่อราวสองพันปีก่อนคริสต์ศักราช 




ดังบันทึกในสมัยราชวงศ์ฮั่นของจีนในช่วงราว 206 ก่อนคริสต์ศักราช ถึงราว คศ. 220 มีบันทึกของศตวรรษที่สามและสี่ระบุว่าประเทศจีนเริ่มมีการปลูกต้นไม้ในกระถางเรียกว่า Pun-sai ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นไม้ดอก เช่น เบญจมาศ ฯ ต่อมามีบันทึกกล่าวถึงการจัดสวนที่ประกอบด้วยหินและต้นไม้ในภาชนะที่เรียกว่า เผินจิ่ง (penjing) ตั้งแต่ช่วงราชวงศ์ถัง (คศ. 618–906) ต่อมาเผินจิ่งได้แพร่หลายออกไปยังประเทศญี่ปุ่นซึ่งที่ประเทศญี่ปุ่นนี่เองที่ไม้แคระได้ถูกเรียกขานกันในภาษาญี่ปุ่นว่า บอนไซ ......อ่านต่อ


ตอนนี้ย้ายบ้านแล้วนะครับ มีบทความใหม่ๆซึ่งจะทยอยเขียนเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เหมาะสำหรับมือใหม่นะครับ ใครว่างลองแวะเข้าไปเยี่ยมชม ได้นะครับที่






ส่วนบทความเก่าๆ ในบล็อคนี้จะทยอยย้ายไปครับ

Subscribe to RSS Feed Follow me on Twitter!